สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากสื่อต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น อีเมล บล็อก และโปรแกรมสนทนา มีทั้งข้อมูลที่เชื่อถือได้และข้อมูลที่หลอกลวง

ผู้รับข้อมูลต้องรู้จักใช้ข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ ตรวจสอบ ประเมินความถูกต้องของข้อมูล

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ว 4.2 ป. 5/3, ป.5/5

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- อธิบายเกณฑ์การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

- ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้รับ

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- อ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ได้รับอย่างรอบคอบ

การวัดผลและประเมินผล

1. แบบประเมิน ด้านความรู้

2. แบบประเมิน ด้านทักษะกระบวนการ

3. แบบประเมินสมรรถนะ

4. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

5. แบบประเมินตนเอง

6. แบบประเมินเจตคติต่อการใช้เทคโนโลยี

ปีการศึกษา 2567 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี
หน่วย หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ชั่วโมง การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
เรื่อง การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล (1) 12 มิ.ย. 67 (มีใบงาน ใบความรู้ และแบบประเมินตนเอง)