สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทยอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้เรา    มีทักษะการเขียนคำ ประโยค เเละข้อความได้ถูกต้องสวยงาม อันเป็นการเผยเเพร่ให้ผู้อื่นได้ชื่นชมความงดงามของภาษาไทย

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

   - บอกหลักการคัดลายมือได้

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

    - คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดได้ถูกต้อง

3. ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

     - มีมารยาทในการเขียน

การวัดผลและประเมินผล

 

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกหลักการคัดลายมือได้

 

 

- พิจารณาการตอบคำถาม

 

- คำถาม

 

 

ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

- คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดได้ถูกต้อง

 

 

-ใบงานที่ 3 เรื่อง หลักการคัดลายมือ

 

-แบบประเมินใบงานที่ 3 เรื่อง หลักการคัดลายมือ

 

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ 60 ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- มีมารยาทในการเขียน

 

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

- บอกหลักการคัดลายมือ และคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดได้ถูกต้องสวยงาม (1.1)

 

 

 

- การประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

 

 

 

 

- การประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

 

 

 

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. รักความเป็นไทย

 

 

- การสังเกตพฤติกรรม

 

- แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

ปีการศึกษา 2567 / 2
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๑๔ ชื่อหน่วย ชวนอ่านชวนคิด
ชั่วโมง ชวนอ่านชวนคิด
เรื่อง คัดลายมือ (๑) 19 ธ.ค. 67 (มีใบงานและใบความรู้)