สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ตามธรรมชาติ หินอาจมีรอยแตก มีช่องว่าง และอาจมีน้ำขังอยู่ในรอยแตกในช่องว่าง เมื่อถึงอุณหภูมิของน้ำลดลง เมื่อน้ำเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของเหลวก็จะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น

เกิดซ้ำกันเป็นเวลานาน ทำให้ช่องว่างในหินมีขนาดใหญ่ขึ้น ก็จะเกิดการผุพังแตกออกจากกัน

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ว 3.2 ม.2/5

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายกระบวนการผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพของหินจากแบบจำลอง

2. บอกปัจจัยที่ทำให้หินเกิดการผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพ

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

ด้านความรู้ 

          ประเมินจาก

         1. การบันทึกผลการทํากิจกรรมการตอบคําถามท้ายกิจกรรมเกี่ยวกับกระบวนการ ผุพังอยู่กับที่ทางเคมีของหิน โดยอาศัยปัจจัยจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีและผลของการผุพังอยู่กับที่ทางเคมีของหินที่ทําให้ผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงในใบงานที่ 1

เครื่องมือ

-ใบงานที่ 2 การผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพของหิน

- ใบความรู้ที่ 1 การผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพของหิน

 

ปีการศึกษา 2567 / 2
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 โลกและการเปลี่ยนแปลง
ชั่วโมง โลกและการเปลี่ยนแปลง
เรื่อง การผุพังอยู่กับที่ทางกายภาพของหิน (2) 11 พ.ย. 67 (มีใบงาน ใบความรู้)