สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เป็นงานเขียนที่มีการวางโครงเรื่องโดยตัวละคร ฉาก และดำเนินเรื่องตามเหตุการณ์ ต้องอาศัยการตั้งคำถาม

ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน แผนภาพโครงเรื่องช่วยให้งานเขียนมีคุณภาพ สื่อสารได้ตรงตามจุดประสงค์และได้ความสมบูรณ์ครบถ้วน                

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

               - บอกหลักการเขียนแผนภาพโครงเรื่องได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

               - เขียนแผนภาพโครงเรื่องโดยใช้ความรู้จากเรื่องชนิดของคำได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

               - มีมารยาทในการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

 

การวัดผลและประเมินผล

 

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกหลักการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

 

 

- สังเกตการตอบคำถาม โดยบอกหลักการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

 

- คำถามสำคัญ

 

- ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

- เขียนแผนภาพโครงเรื่องจาก ชนิดของคำ

 

- ตรวจใบงานที่ ๙ เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง (๑)

 

- แบบประเมิน

การเขียนแบบภาพ         โครงเรื่อง

 

- ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- มีมารยาทในการเขียน

 

- สังเกตการตอบคำถามสรุปบทเรียน

 

- คำถามสำคัญ

 

- ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

- ความสามารถในการคิด (๒.๑) เขียนถ่ายทอดเรื่องราวโดยใช้แผนภาพโครงเรื่องช่วยในการเขียนให้ผู้อื่นเข้าใจและมีมารยาทในการเขียน

 

 

- ประเมินการเขียนถ่ายทอดเรื่องราวโดยใช้แผนภาพโครงเรื่องช่วยในการเขียนให้ผู้อื่นเข้าใจและมีมารยาทในการเขียน

 

 

- แบบประเมินสมรรถนะด้านการคิด

 

 

- ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. ใฝ่เรียนรู้

๒. มุ่งมั่นในการทำงาน

 

 

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

 

- แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 

- ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

ปีการศึกษา 2567 / 2
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๘ ชื่อหน่วย พินิจภาษา พิจารณาสาร
ชั่วโมง พินิจภาษา พิจารณาสาร
เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง (๑) 15 พ.ย. 67 (มีใบงาน ใบความรู้)