ดินจากบริเวณต่าง ๆ อาจมีสีลักษณะเนื้อดิน และสมบัติการจับตัวของดินได้เหมือนหรือแตกต่างกัน ดิน
ที่มีสมบัติการจับตัวได้ดีจะปั้นเป็นก้อนกลมได้ เนื้อดินไม่แตกออกจากกันสามารถนำลักษณะและสมบัติการจับ
ตัวของดิน เช่น ดินที่จับตัวได้ปานกลาง จะปั้นเป็นก้อนกลมได้แล้วแตกออกบางส่วน เนื้อดินจะแตกออก
บางส่วน และดินที่จับตัวกันได้ไม่ดี จะปั้นเป็นก้อนกลมไม่ได้มาใช้อธิบายดินที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น ดิน
ถนนลูกรังมีลักษณะเนื้อหยาบ จับตัวได้ไม่ดีจึงนำมาทำถนนเมื่อฝนตกได้ ไม่ลื่นง่าย
1. ตัวชี้วัด ว 3.2 ป. 2/1 ระบุส่วนประกอบของดิน และจำแนกชนิดของดิน โดยใช้ลักษณะเนื้อดินและการจับตัว
2. จุดประสงค์
1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- บอกลักษณะและสมบัติของดินในตัวอย่างที่พบในชีวิตประจำวัน
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
-
3. ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- ความมีเหตุผล
1 บอกลักษณะและสมบัติของดินในตัวอย่างที่พบในชีวิตประจำวัน
2 สังเกตพฤติกรรมการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3 สังเกตพฤตกรรมด้านการมีวินัยและใฝ่เรียนรู้