สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ประโยค เกิดจากคำที่นำมาเรียงต่อกัน แล้วได้ใจความที่ทำให้เข้าใจได้ว่า ใคร ทำ อะไร

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

   1) บอกลักษณะของประโยค

   2) บอกส่วนประกอบของประโยค 3 ส่วนได้

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

   - เลือกใช้คำเรียงให้เป็นประโยค 3 ส่วน อย่างได้ใจความ

3. ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

  - มีมารยาทในการเขียน

การวัดผลและประเมินผล

 

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

1) บอกลักษณะของประโยค

2) บอกส่วนประกอบของ

ประโยค 3 ส่วนได้

 

- พิจารณาการตอบคำถาม

 

- คำถาม

 

 

ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

- เลือกใช้คำเรียงให้เป็นประโยค

3 ส่วน อย่างได้ใจความ

 

 

- ใบงานที่ 8 เรื่อง การเลือกใช้คำกริยาให้ประโยคได้ใจความ

 

-แบบประเมินใบงานที่ 8 เรื่อง การเลือกใช้คำกริยาให้ประโยคได้ใจความ

 

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ 60 ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

-  มีมารยาทในการเขียน

       

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

1. บอกลักษณะของประโยค ส่วนประกอบของประโยค และเลือกใช้คำเรียงให้เป็นประโยค

3 ส่วนอย่างได้ใจความ (1.1)

 

 

 

- การประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

 

 

 

 

- การประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

 

 

 

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการทำงาน

 

 

- การสังเกตพฤติกรรม

 

- แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

ปีการศึกษา 2567 / 2
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๑๔ ชื่อหน่วย ชวนอ่านชวนคิด
ชั่วโมง ชวนอ่านชวนคิด
เรื่อง เรียบเรียงประโยค (๒) 27 ธ.ค. 67 (มีใบงาน ใบความรู้และบัตรคำ)