สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การเขียนสะกดคำ การอ่านออกเสียง เเละบอกความหมายของคำควบกล้ำไม่แท้ จะช่วยให้นำคำไปใช้เพื่อการสื่อสารได้ถูกต้อง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

   - บอกลักษณะของคำควบกล้ำไม่แท้ได้ถูกต้อง

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

    1) อ่านคำควบกล้ำไม่แท้ได้

   2) เขียนคำควบกล้ำไม่แท้ได้

3. ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

   1) มีมารยาทในการอ่าน

   2) รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง

การวัดผลและประเมินผล

 

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกลักษณะของคำควบกล้ำ
ไม่แท้ได้ถูกต้อง

 

 

- พิจารณาการตอบคำถาม

 

- คำถาม

 

 

ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. อ่านคำควบกล้ำไม่แท้ได้

2. เขียนคำควบกล้ำไม่แท้ได้

 

 

-ใบงานที่ 6 เรื่อง การอ่านและเขียนคำควบกล้ำไม่แท้

 

-แบบประเมินใบงานที่ 6 เรื่อง การอ่านและเขียนคำควบกล้ำไม่แท้

 

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ 60 ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

1. มีมารยาทในการอ่าน

๒. รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง       

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

1. การฝึกอ่าน และฝึกเขียนคำควบกล้ำไม่แท้ เลือกใช้คำได้ถูกต้องตามความหมาย  (2.1)

2.  รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย (4.3)

 

 

1. การประเมินความสามารถ

ในการคิด

 1. การประเมินความสามารถ

ในการใช้ทักษะชีวิต

 

 

1. การประเมินความสามารถ

ในการคิด

1. การประเมินความสามารถ

ในการใช้ทักษะชีวิต

 

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการทำงาน

 

 

- การสังเกตพฤติกรรม

 

- แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

ปีการศึกษา 2567 / 2
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๑๓ ชื่อหน่วย เรียนรู้อักษรนำ
ชั่วโมง เรียนรู้อักษรนำ
เรื่อง ฝึกอ่านคำควบกล้ำ (๒) 9 ธ.ค. 67 (มีใบงานและใบความรู้)