เขมรมีความสัมพันธ์กับประเทศไทยในด้านการค้า การสงคราม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรมเขมร ทำให้ภาษาเขมรเข้ามาปะปนในภาษาไทย
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- บอกลักษณะของคำภาษาเขมรได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- ระบุคำยืมภาษาเขมรได้
ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- เห็นความสำคัญของการยืมคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน
การประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน |
วิธีการ |
เครื่องมือ |
เกณฑ์การประเมิน |
---|---|---|---|
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - บอกลักษณะของคำภาษาเขมร |
- สังเกตการตอบคำถามของนักเรียน
|
- คำถามสำคัญ |
ผ่านเกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป |
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - ระบุคำยืมภาษาเขมร |
- ตรวจใบงานที่ ๑๐ เรื่อง คำยืมภาษาเขมร |
- แบบประเมินการระบุคำยืมภาษาเขมร |
ผ่านเกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป |
คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - เห็นความสำคัญของการยืมคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย - มีมารยาทในการอ่านและ การเขียน |
- สังเกตการตอบคำถามของนักเรียน
|
- คำถามสำคัญ |
ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ “ผ่าน” |
สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน - |
- |
- |
- |
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน |
- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน |
- แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ |
ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ “ผ่าน” |