สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

วรรณยุกต์ เป็นเครื่องหมายที่ใช้กำกับคำเพื่อให้มีระดับเสียงต่างกันจากภาษาที่ไม่มีวรรณยุกต์ เพื่อให้คำมีความหมายมากขึ้น ช่วยบอกระดับของเสียงให้เห็นชัดเจนอยู่บนตัวอักษรที่แตกต่างจากภาษาของชาติอื่น ๆ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

                    - บอกหลักการผันวรรณยุกต์พยัญชนะอักษรกลางได้

ทักษะ/กระบวนการ (P)

                    - อ่านผันวรรณยุกต์พยัญชนะอักษรกลางได้ 

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

                   - เห็นความสำคัญของการผันวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง

การวัดผลและประเมินผล

ประเด็นประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ความรู้

- บอกหลักการผันวรรณยุกต์พยัญชนะอักษรกลางได้

 

-ประเมินการผันวรรณยุกต์

 

-แบบประเมินการผันวรรณยุกต์

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ทักษะและกระบวนการ

- อ่านผันวรรณยุกต์พยัญชนะอักษรกลางได้   

 

 

-การทำใบงานที่ ๓ เรื่อง เขียนรูปวรรณยุกต์ในคำที่พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง

 

แบบประเมินการทำใบงานที่ ๓ เรื่อง เขียนรูปวรรณยุกต์ในคำที่พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม

-นักเรียนตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย

 

-การถาม-ตอบ

 

- แบบประเมิน

การถาม-ตอบ

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. ใฝ่เรียนรู้

๒. มุ่งมั่นในการทำงาน

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด

 

-การประเมินความสามารถใน     การสื่อสาร

-การประเมินความสามารถในการคิด

 

-แบบประเมินความสามารถในการสื่อสาร

-แบบประเมินความสามารถในการคิด

 

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

ปีการศึกษา 2565 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๕ พูด คิด ผันคล่อง ท่องอาขยาน
ชั่วโมง พูด คิด ผันคล่อง ท่องอาขยาน
เรื่อง วรรณยุกต์สุขใจ 20 ก.ค. 65 (มีใบงาน ใบความรู้ บัตรคำ บัตรวรรณยุกต์ เนื้อเพลง)