สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

1. การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปการคูณกันของพหุนามที่มีดีกรีต่ำกว่าพหุนามเดิมตั้งแต่สองพหุนามขึ้นไป

2. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง แล้วได้ตัวประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งซ้ำกัน เราเรียก
ลักษณะเช่นนี้ว่า พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกำลังสองสมบูรณ์

3. ให้ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลังของพหุนามดีกรีสองสูตรของการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูปกำลังสองสมบูรณ์ 

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

นักเรียนสามารถ 1. อธิบายการแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์

      2. แสดงขั้นตอนการแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์ใช้ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้

การวัดผลและประเมินผล

1 วิธีการ

                   1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

                   2. ตรวจใบงานที่ 8 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์ (2)

                   3. นักเรียนประเมินตนเอง

2 เครื่องมือ

                   1. แบบบันทึกการตรวจใบงานที่ 8 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์ (2)

     2. ใบงานที่ 8 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์ (2)

9.3 เกณฑ์

                   1. ผลงานมีความถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80%

                   2. นักเรียนมีคุณภาพในระดับ 2 ขึ้นไป

ปีการศึกษา 2564 / 2
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระ คณิตศาสตร์
หน่วย รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค22102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
ชั่วโมง การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์ (3) 14 ก.พ. 65 (มีใบงาน)