This is a modal window.
พยัญชนะไทย เกิดจากการใช้เส้นแบบต่าง ๆ ประกอบกัน การฝึกลากเส้นจะช่วยให้เขียนพยัญชนะไทย
ได้ถูกต้องตามรูปแบบ
จุดประสงค์/ตัวชี้วัด
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- บอกหลักการลากเส้นและการเขียนพยัญชนะบ ป ง ท พ ฟ ผ ฝ ษ ฬ ม น
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
- เขียนลากเส้นพื้นฐานและเขียนพยัญชนะบ ป ง ท พ ฟ ผ ฝ ษ ฬ ม นได้ถูกต้อง
ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)
- บอกความสำคัญของการลากเส้นและการเขียนพยัญชนะบ ป ง ท พ ฟ ผ ฝ ษ ฬ ม น
สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน |
วิธีการ |
เครื่องมือ |
เกณฑ์การประเมิน |
---|---|---|---|
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - บอกหลักการลากเส้นและการเขียนพยัญชนะบ ป ง ท พ ฟ ผ ฝ ษ ฬ ม น |
- ประเมินการตอบ คำถาม |
- คำถาม
|
ผ่านเกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ 60 ขึ้นไป |
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - เขียนลากเส้นพื้นฐานและเขียนพยัญชนะบ ป ง ท พ ฟ ผ ฝ ษ ฬ ม นได้ถูกต้อง |
1. ประเมินใบงานที่ 2 2. ประเมินใบงานที่ 3 |
1. ใบงานที่ 2 2. ใบงานที่ 3 |
ผ่านเกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ 60 ขึ้นไป |
คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - เห็นความสำคัญของการลากเส้นและการเขียนพยัญชนะ |
- สังเกตพฤติกรรมนักเรียน |
- แบบสังเกตพฤติกรรม |
ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ “ผ่าน” |
สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน 1.ความสามารถ ในการคิด (2.1) 2.ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต (4.3) |
1. การประเมินความสามารถ ในการคิด 2.การประเมินความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต |
1. ประเมินความสามารถ ในการคิด 2.การประเมินความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต |
ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ “ผ่าน” |
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน |
- การสังเกตพฤติกรรม |
- แบบสังเกตพฤติกรรม |
ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ “ผ่าน” |