สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

 ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาย่อยของภาษาไทยที่ใช้พูดสื่อสารในท้องถิ่นต่างๆในประเทศไทยและมีลักษณะบางประการที่แตกต่างกันตามท้องถิ่น เป็นภาษาที่ใช้พูดสื่อความหมายให้เข้าใจกัน ภาษาถิ่นอาจเป็นภาษาประจำถิ่นในบริเวณขนาดเล็กหรือบริเวณขนาดใหญ่ก็ได้ ควรใช้ให้เหมาะสมกับบุคคล สถานที่ และกาลเทศะ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด  ป. 2/5 เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

2. จุดประสงค์

2.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

                              - บอกลักษณะของภาษาถิ่นอีสานได้

           2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

                             - อ่านออกเสียงและเขียนคำภาษาถิ่นอีสานได้

          2.3 ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

                             - เห็นความสำคัญของการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร

การวัดผลและประเมินผล

ใบงานที่ 3 เรื่อง ภาษาถิ่นอีสาน

ปีการศึกษา 2567 / 2
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๑๓ ชื่อหน่วย ท่องไปทั่วถิ่นไทย
ชั่วโมง ท่องไปทั่วถิ่นไทย
เรื่อง อีสานบ้านเฮา 29 พ.ย. 67 (มีใบงาน)