ด้านความรู้
โครงสร้างประโยค
1. การใช้ Gerund ในการกล่าวขอบคุณ (Thank you for + gerund)
2. การใช้ Gerund ทำหน้าที่เป็นประธาน (Subject) ของประโยค เช่น V.ing + กริยา
3. Gerund ทำหน้าที่เป็นกรรม (Object) ของประโยค เช่น ประธาน+ กริยา + V.ing
4 กลุ่มของกริยาบางตัวที่เมื่อใช้คู่กับกริยาไม่แท้(non-finite verbs) ต้องใช้ในรูป gerund เช่น admit(ยอมรับ), appreciate (ซาบซึ้ง), avoid (หลีกเลี่ยง), begin (เริ่มต้น), compare (เปรียบเทียบ), continue (ต่อเนื่อง), consider (พิจารณา), deny (ปฏิเสธ), dislike (ไม่ชอบ), excuse (แก้ตัว อ้าง), escape (หลบหนี), enjoy (สนุก), finish (เสร็จ), forget (ลืม), hate (เกลียด), intend (ตั้งใจ), keep (ทำบางอย่างต่อไป), like (ชอบ), love (รัก), mind (รังเกียจ), need (จำเป็น), prefer (ชื่นชอบ), quit (หยุด ล้มเลิก), recommend (แนะนำ), start (เริ่ม), stop (หยุด), try (พยายาม), understand (เข้าใจ), urge (กระตุ้น), want (ต้องการ) เป็นต้น
ตัวชี้วัด
ต 1.3 ม.3/2 อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
1. พูดสรุปจับใจความสำคัญเรื่องวันขอบคุณพระเจ้า โดยใช้คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างทางภาษาในการแสดงความรู้สึกขอบคุณได้
ด้านทักษะกระบวนการ
1. เห็นความสำคัญของการขอบคุณโดยใช้ภาษาต่างประเทศ (A)
ด้านคุณลักษณะ
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
4. รักความเป็นไทย
5. การกล้าแสดงออก
- คุณลักษณะเฉพาะ (ของแต่ละวิชา)
1. มั่นใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. การอ่าน
2. การสื่อสาร
3. การทำงานเป็นทีม
วิธีการ การตรวจสอบคำตอบ ผ่านร้อยละ 60 ขึ้นไป
เครื่องมือ ใบงานที่ 1 เรื่อง Thank you so much