สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

 กระบวนการเลือกตั้งถือได้ว่าเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย เพื่อคัดเลือกผู้แทนที่มีความเหมาะสมไปใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชาชนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงการเลือกตั้งเป็นหน้าที่ที่สำคัญหนึ่งของพลเมืองไทย

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

7.1 ตัวชี้วัด

ส 2.2 ม.1/3 ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
7.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้

อธิบายความสอดคล้องของการเลือกตั้งกับวิถีประชาธิปไตยได้
ด้านทักษะกระบวนการ

แสดงออกซึ่งกระบวนการเลือกตั้งจำลองได้
ด้านคุณลักษณะ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการทำงาน

3. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

4. มีจิตสาธารณะ

คุณลักษณะเฉพาะ

เห็นความสำคัญของการเลือกตั้งอันเป็นกิจกรรมการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการคิด

2. ความสามารถในการสื่อสาร

3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

การวัดผลและประเมินผล

8. วิธีการวัด/ประเมินผล

8.1 การตอบคำถาม

8.2 การตรวจผลงาน

9. เครื่องมือวัด/ประเมินผล

9.1 คำถามนำ

9.2 แบบประเมินการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12

9.3 เกณฑ์คุณภาพการประเมิน (Rubric)

ปีการศึกษา 2567 / 2
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วย สภาจำลองผ่านมุมมองในห้องเรียน
ชั่วโมง สภาจำลองผ่านมุมมองในห้องเรียน
เรื่อง การเลือกตั้งผู้แทนตามวิถีประชาธิปไตย 28 พ.ย. 67 (มีใบกิจกรรม และบัตรลงคะแนน)