สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

          สำนวนไทย เป็นถ้อยคำที่ไม่ตรงความหมายตามตัวอักษร  ที่กลั่นกรอง เรียบเรียงถ้อยคำโดยใช้ถ้อยคำที่คมคายกว่าคำพูดธรรมดา เป็นเครื่องเตือนใจให้เห็นวิถีการดำเนินชีวิตของคนในอดีต

ความอุดมสมบูรณ์ อาชีพ  การดำรงชีวิต ความเชื่อและประเพณี   สำนวนไทยเป็นเครื่องชี้วัดความสามารถทางภาษา เราควรใช้สำนวนไทยในการพูดและการเขียนให้ถูกต้องอย่างสร้างสรรค์

เพื่อเป็นการสืบสานต่อวัฒนธรรมของชาติ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

               - อธิบายความหมายของสำนวนเปรียบเทียบได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

               - ใช้สำนวนเปรียบเทียบได้ถูกต้อง

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

               - เห็นคุณค่าของการใช้สำนวนเปรียบเทียบ

การวัดผลและประเมินผล

การประเมินผล

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- อธิบายความหมายของสำนวนเปรียบเทียบ

 

- สังเกตการตอบคำถามของนักเรียน

 

- คำถามสำคัญ

 

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

- ใช้สำนวนเปรียบเทียบถูกต้อง

 

- ตรวจการใช้สำนวนเปรียบเทียบ

 

- แบบประเมินการใช้สำนวนเปรียบเทียบ

 

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- เห็นคุณค่าของการใช้สำนวนเปรียบเทียบ

 

- สังเกตการตอบคำถามของนักเรียน

 

- คำถามสำคัญ

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

- ความสามารถในการสื่อสาร (๑.๔) เลือกใช้สำนวนไทยในการสื่อสารเหมาะสมกับบุคลและสถานการณ์

 

- ตรวจการใช้สำนวนในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

 

- แบบประเมินความสามารถใน           การสื่อสาร

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. ใฝ่เรียนรู้

๒. รักความเป็นไทย

 

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

 

 

- แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

                                                

ปีการศึกษา 2567 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๕ ชื่อหน่วย วิชาเหมือนสินค้า
ชั่วโมง วิชาเหมือนสินค้า
เรื่อง การใช้สำนวนเปรียบเทียบ 13 ส.ค. 67 (มีใบงาน ใบความรู้)