สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

นิทานท้องถิ่น เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่า แสดงให้เห็นวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ สภาพของสังคมและภูมิปัญญาไทย

การอ่านนิทานท้องถิ่นทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ได้ข้อคิด คติสอนใจ สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

               - บอกความหมายและลักษณะของนิทานท้องถิ่นได้

 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

               - เขียนสรุปเรื่องและข้อคิดของนิทานท้องถิ่นที่อ่านได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

               - นำข้อคิดที่ได้ไปใช้ในชีวิตจริง

การวัดผลและประเมินผล

 

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกความหมายและลักษณะของนิทานท้องถิ่น

 

- สังเกตการตอบคำถามของนักเรียน

 

- คำถามสำคัญ

 

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

- เขียนสรุปเรื่องและข้อคิดของนิทานท้องถิ่นที่อ่าน

 

- ตรวจการทำใบงานที่ ๒ การอ่านนิทานท้องถิ่น

 

- การประเมินการวิเคราะห์ สรุปความรู้ คุณค่า และข้อคิดจากการอ่านนิทาน

 

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- นำข้อคิดที่ได้ไปใช้ในชีวิตจริง

 

- สังเกตการตอบคำถามของนักเรียน

 

- คำถามสำคัญ

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

-

 

 

-

 

 

-

 

 

-

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

- ใฝ่เรียนรู้

 

- สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

 

- แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

ปีการศึกษา 2567 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๖ ชื่อหน่วย นิทานอ่านสนุก
ชั่วโมง นิทานอ่านสนุก
เรื่อง การอ่านนิทานท้องถิ่น 22 ส.ค. 67 (มีใบงาน ใบความรู้)