สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

สระเอะ เป็นสระเสียงสั้นเมื่อไม่มีตัวสะกด จะเขียนรูป เ− ไว้หน้าพยัญชนะต้น รูป −ะ ไว้หลังพยัญชนะต้น เมื่อมีตัวสะกด รูป −ะ จะเปลี่ยนรูปเป็น − เขียนไว้บนพยัญชนะต้น

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

   - บอกลักษณะของสระเอะได้ถูกต้อง

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

   1) เขียนรูปสระเอะได้ถูกต้อง 

   2) อ่านคำสระเอะได้ถูกต้อง

3. ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

    - มารยาทในการเขียน

การวัดผลและประเมินผล

การประเมินผล

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกลักษณะของสระเอะ

ได้ถูกต้อง

- ประเมิน
ใบงานที่ 2 เรื่อง
เขียนคำสระเอะ

(เ - ะ)

- แบบประเมิน
ใบงานที่ 2 เรื่อง
เขียนคำสระเอะ

(เ - ะ)

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ 60 ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. เขียนรูปสระเอะได้ถูกต้อง

2. อ่านคำสระเอะได้ถูกต้อง

 

- ประเมิน
ใบงานที่ 2
เรื่อง เขียนคำสระเอะ
(เ - ะ)

- แบบประเมิน
ใบงานที่ 2
เรื่อง เขียนคำสระเอะ

(เ - ะ)

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ 60 ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- มารยาทในการเขียน

- การสังเกตพฤติกรรม

- สังเกตพฤติกรรม

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

- ความสามารถในการเขียนคำ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตามหน้าที่

ของตนเองที่ได้รับมอบหมายได้บรรลุผลสำเร็จตามข้อตกลง (1.1)

 

- การประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

- ประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการทำงาน

- การสังเกตพฤติกรรม

- แบบสังเกตพฤติกรรม

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

ปีการศึกษา 2567 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย สระไทย ใส่ใจจดจำ
ชั่วโมง สระไทย ใส่ใจจดจำ
เรื่อง สนุกกับสระเอะ 2 ก.ค. 67 (มีใบงานและใบความรู้)