สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

สระอา เป็นสระเสียงยาว เขียนไว้หลังพยัญชนะต้น เมื่อมีตัวสะกด สระอาจะคงรูปมีทั้งคำที่มีรูปวรรณยุกต์ และไม่มีรูปวรรณยุกต์ การฝึกอ่านและเขียนคำที่ใช้สระอาอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้เราใช้คำสระอาได้ถูกต้อง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

    - บอกลักษณะของสระอาได้ถูกต้อง

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

     1) เขียนรูปสระอาได้ถูกต้อง

    2) อ่านคำสระอาได้ถูกต้อง

3. ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

     1) มารยาทในการพูดและการเขียน
     2) รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง

 

การวัดผลและประเมินผล

การประเมินผล

สิ่งที่ต้องการวัด/ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกลักษณะของสระอา

ได้ถูกต้อง

- ประเมิน
ใบงานที่ ๑ เรื่อง คำสระอาน่ารู้

- แบบประเมิน
ใบงานที่ ๑ เรื่อง คำสระอาน่ารู้

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ 60 ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. เขียนรูปสระอาได้ถูกต้อง

2. อ่านคำสระอาได้ถูกต้อง

 

- ประเมิน
ใบงานที่ ๑ เรื่อง คำสระอาน่ารู้

- แบบประเมิน
ใบงานที่ ๑ เรื่อง คำสระอาน่ารู้

ผ่านเกณฑ์

การประเมิน

ร้อยละ 60 ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

1. มารยาทในการพูดและการเขียน
๒. รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง      

- การสังเกตพฤติกรรม

- แบบสังเกตพฤติกรรม

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน

   - ใช้คำสระอาที่มีตัวสะกด และไม่มีตัวสะกด พูดและเขียนคำ ประโยคสั้น ๆ จากประสบการณ์ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจ เปรียบเทียบคำเหมือนและ

ความแตกต่างของคำที่ใช้สระอา

ที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด

รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตามหน้าที่ตนเองได้รับมอบหมายได้บรรลุผลสำเร็จตามข้อตกลง (1.1)

 

1. การประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

 

 

1. ประเมินความสามารถ

ในการสื่อสาร

 

 

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการทำงาน

- การสังเกตพฤติกรรม

- แบบสังเกตพฤติกรรม

ผ่านเกณฑ์
การประเมิน

ระดับคุณภาพ “ผ่าน”

 

ปีการศึกษา 2567 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย เรียนรู้คำ จำสระ
ชั่วโมง เรียนรู้คำ จำสระ
เรื่อง สนุกกับสระอา 31 พ.ค. 67 (มีใบงานและใบความรู้)