สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การพูดโน้มน้าวใจเป็นการพูดเชิญชวน หรือชักจูงผู้ฟังด้วยกลวิธีที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดความเชื่อถือมีความคิดเห็นคล้อยตาม ตลอดจนปฏิบัติตามความมุ่งหมายของผู้ส่งสาร การพูดโน้มน้าวใจจะทำให้เกิดความรู้และทักษะที่ช่วยพัฒนาการรับสารและการสื่อสารให้ดียิ่งขึ้น รวมถึงสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายหลักการพูดโน้มน้าวใจได้ถูกต้อง
ด้านทักษะและกระบวนการ
2. พูดโน้มน้าวใจตามที่กำหนดได้อย่างสร้างสรรค์

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

- ประเมินการพูดโน้มน้าวใจ

เครื่องมือ

- แบบประเมินการพูดโน้มน้าวใจ

ปีการศึกษา 2566 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง กรองคำนำจิต
ชั่วโมง กรองคำนำจิต
เรื่อง คำคม คำขวัญ (1) 12 ก.ค. 66 (มีใบงาน ใบความรู้)