สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ดินแดนไทยมีสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับการตั้งหลักแหล่ง ดังปรากฏจากหลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ จนพัฒนาเป็นชุมชน บ้านเมือง แคว้นหรือรัฐ และอาณาจักรในที่สุด

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้

1. อธิบายพัฒนาการแต่ละขั้น ตั้งแต่ชุมชนสู่รัฐโบราณได้

ด้านทักษะกระบวนการ

1. วิเคราะห์ความสัมพันธ์และปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการจากชุมชนไปสู่รัฐโบราณได้

ด้านคุณลักษณะคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการทำงาน

3. รักความเป็นไทย

คุณลักษณะเฉพาะ

1. เห็นคุณค่าของความสัมพันธ์และพัฒนาการจากชุมชนไปสู่รัฐโบราณ

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

- ตั้งคำถามนำและให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย

การทำใบงานที่ 11

- การนำเสนอหน้าชั้นเรียน

เครื่องมือวัด

- แบบประเมินการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15

เกณฑ์การวัด

- เกณฑ์คุณภาพการประเมิน (RUBRIC SCORE)     

เครื่องมือ

- คำถามนำ

- แบบประเมินการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15

เกณฑ์การวัด

- นักเรียนตอบคำถามถูกต้องมากกว่าร้อยละ 50

- เกณฑ์คุณภาพการประเมิน(RUBRIC SCORE)      

ปีการศึกษา 2566 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 รากเหง้าแห่งอุษาคเนย์
ชั่วโมง รากเหง้าแห่งอุษาคเนย์
เรื่อง พัฒนาการจากชุมชนสู่รัฐโบราณ 18 ก.ย. 66 (มีใบงานและใบความรู้)