สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

1. ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล
2. จุดประสงค์ในการสร้างผลงานทัศนศิลป์ไทยและสากล
3. การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยในไทยและสากล
 

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด
ศ 1.1 ม. 1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
ศ 1.1 ม. 1/3 เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรม ไทยและสากล
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายความแตกต่างของการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล
2. นักเรียนสามารถอธิบายข้อเปรียบเทียบจุดประสงค์ในการสร้างผลงานทัศนศิลป์ไทยและสากล
ด้านทักษะและกระบวนการ
1. นักเรียนสามารถเลือกภาพต้นแบบเพื่อสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมรูปแบบผสมผสานงานจิตรกรรมไทยและสากล
2. นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ด้วยเทคนิคสีไม้ได้
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3. การมีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ
1. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. ประเมินชิ้นงาน
เครื่องมือ

1. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. แบบประเมินชิ้นงาน

ปีการศึกษา 2566 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ทัศนศิลป์
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล
ชั่วโมง ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล
เรื่อง ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากล (1) 6 ก.ย. 66 (มีใบงานและใบความรู้)