สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ความเป็นมา รูปแบบ ลักษณะของงานทัศนศิลป์ในชาติและในท้องถิ่นจากอดีตจนถึงปัจจุบัน การสื่อความหมายถึงเรื่องราว ความแตกต่าง และความกลมกลืนในงานทัศนศิลป์ของภาคต่างๆในประเทศไทย

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้       1. บรรยาย ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น (จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม) ได้

ด้านทักษะ         1. วิเคราะห์ จำแนก ลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น (จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม) ได้

การวัดผลและประเมินผล

8.1 วิธีการ

                   1.ทดสอบวัดความรู้

                   2. ประเมินทักษะ

                   3. สังเกตพฤติกรรม

8.2 เครื่องมือ

                   1. แบบทดสอบ

                   2. แบบประเมิน

                   3. แบบสังเกต

8.3 เกณฑ์

                   1. ทำแบบทดสอบได้ ร้อยละ 60 ขึ้นไป

                   2.มีทักษะอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไปร้อยละ 80

                   3.มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพดีขึ้นไป ร้อยละ 80

ปีการศึกษา 2564 / 2
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ทัศนศิลป์
หน่วย รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สืบสานงานทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น
ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สืบสานงานทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น
เรื่อง ลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น 2 ก.พ. 65 (มีใบงาน ใบความรู้)