สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

 ระบบการเขียนของไทยใช้ตัวอักษรที่แทนเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และวรรณยุกต์ ประสมกันตามหลักอักขรวิธีของไทย แต่คำในภาษาไทยจำนวนมากที่อ่านไม่ตรงตามรูปที่เขียน หรือเขียนไม่ตรงกับเสียงที่อ่าน

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

7.1 ตัวชี้วัด

ท 1.1 ม.1/1  อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

7.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายคุณค่าของการอ่านพยัญชนะที่ไม่มีรูปสระกำกับและอักษรที่ไม่ออกเสียงได้

2. วิเคราะห์คำที่มีพยัญชนะที่ไม่มีรูปสระกำกับและอักษรที่ไม่ออกเสียงได้

การวัดผลและประเมินผล

8.1 วิธีการ

1. ทดสอบการอ่านเรื่อง “คำที่มีพยางค์ที่ไม่มีรูปสระ”

2. สังเกตพฤติกรรมการการอ่าน

8.2 เครื่องมือ

1. แบบทดสอบการอ่านเรื่อง “คำที่มีพยางค์ที่ไม่มีรูปสระ”

2. แบบประเมินการอ่าน“คำที่มีพยางค์ที่ไม่มีรูปสระ”

                  

ปีการศึกษา 2566 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง บทฝึกอ่านกับเรื่องเล่า
ชั่วโมง บทฝึกอ่านกับเรื่องเล่า
เรื่อง อ่านคำไพเราะ (1)  10 ก.ค. 66 (มีใบงาน)