สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

 วรรณคดีมักเขียนขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ในชีวิตของผู้เขียนและเหตุการณ์สำคัญในสังคม ซึ่งผู้อ่านสามารถเรียนรู้และได้ข้อคิดในการใช้ชีวิตจากการศึกษาวรรณคดีเพื่อนำมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของตนเอง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

7.1 ตัวชี้วัด

ท 1.1 ม.1/2     จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน

ท 2.1 ม.1/2     เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย

ท 2.1 ม.1/1     พูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู

7.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกประวัติของสุนทรภู่ได้

2. อธิบายที่มาและความสำคัญของนิราศภูเขาทองได้

3. การจับใจความสำคัญของเรื่อง

4. การสนทนาและนำเสนอข้อมูล

การวัดผลและประเมินผล

8.1 วิธีการ

1. ประเมินพฤติกรรม

2. ตรวจใบงานที่ 1 เรื่อง “สุนทรภู่กับนิราศภูเขาทอง”       

8.2 เครื่องมือ

1. แบบประเมินพฤติกรรม

2. ใบงานที่ 1 เรื่อง “สุนทรภู่กับนิราศภูเขาทอง”

ปีการศึกษา 2566 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระหว่างทางบันทึก
ชั่วโมง ระหว่างทางบันทึก
เรื่อง สุขสันต์การเดินทาง 29 พ.ค. 66 (มีใบงาน และใบความรู้)