สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ลักษณะ ประเภท ของศิลปะลายไทย งานจิตรกรรมไทย และลายไทย (จัดแบ่งการเขียนออกเป็น 4 หมวด คือ กนก นารี กระบี่ คชะ) อันเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ซึ่งคนไทยทั้งชาติต่างภาคภูมิใจอย่างยิ่ง ความงดงามที่สืบทอดอันยาวนานมาตั้งแต่อดีต บ่งบอกถึงวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น โดยมีพัฒนาการบนพื้นฐานของความเป็นไทย

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้       1. อธิบายและจำแนกลักษณะของงานจิตรกรรมไทย และลายไทยได้

ด้านทักษะ 1. สามารถเขียนลายไทยพื้นฐานได้อย่างคล่องแคล่ว

การวัดผลและประเมินผล

8.1 วิธีการ

                   1.ทดสอบวัดความรู้

                   2. ประเมินทักษะ

                   3. สังเกตพฤติกรรม

8.2 เครื่องมือ

                   1. แบบทดสอบ

                   2. แบบประเมิน

                   3. แบบสังเกต

8.3 เกณฑ์

                   1. ทำแบบทดสอบได้ ร้อยละ 60 ขึ้นไป

                   2.มีทักษะอยู่ในระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไปร้อยละ 80

     3.มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพดีขึ้นไป ร้อยละ 80

ปีการศึกษา 2564 / 2
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ทัศนศิลป์
หน่วย รายวิชา ทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สืบสานงานทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น
ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สืบสานงานทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น
เรื่อง ศิลปะลายไทย 2 มี.ค. 65 (มีใบงาน และสื่อวีดิโอ)